ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก 2017

หน่วยแรงดัน

ปอนด์ต่อตารางนิ้ว  ( อังกฤษ :  pound per square inch ) หรือชื่อที่ถูกต้องกว่าคือ  แรงปอนด์ต่อตารางนิ้ว  ( อังกฤษ :  pound-force per square inch ) สัญลักษณ์  psi  (พีเอสไอ) หรือ  lbf/sq in  เป็น หน่วยวัด ความดัน ซึ่งมีพื้นฐานจาก ระบบอังกฤษ แบบ อาวัวร์ดูปัว  นิยมใช้ใน สหราชอาณาจักร และ สหรัฐอเมริกา  หนึ่งปอนด์ต่อตารางนิ้วคือความดันซึ่งเป็นผลจากแรงหนึ่ง แรงปอนด์ กระทำต่อพื้นที่หนึ่ง ตารางนิ้ว ความสัมพันธ์กับหน่วยวัดรูปแบบอื่น ๆ [ แก้ ] ในการใช้งานตัวย่อ มักมีการเติมตัวอักษรลงไปหลังสัญลักษณ์ "psi" เพื่อแสดงปริมาณที่ถูกวัด อย่างไรก็ตาม  สถาบันมาตรฐานและเทคโนโลยีสหรัฐอเมริกา  (เอ็นไอเอสที) แนะนำว่า เพื่อเพื่อป้องกันความสับสน การเติมตัวอักษรให้เติมที่ปริมาณที่ถูกวัดแทนที่จะเป็นตัวหน่วยวัดเอง ตัวอย่างเช่น ให้ใช้ " P g  = 100 psi" แทน " P  = 100 psig" psia (pounds-force per square inch absolute) - ความดันสัมบูรณ์ คือความดันเกจรวมกับความดันบรรยากาศรอบบริเวณนั้น ให้ใช้ " P a  =  x  psi" แทน " x  ps...

Psychometric Chart

แผนภูมิไซโครเมตริก () เป็นแผนภูมิที่บอกถึงรายละเอียดของอากาศที่สภาวะต่าง ๆ เชื่อว่าหลายท่านที่ทำงานในสายงานเครื่องกล ทำความเข้าใจแผนภูมิไซโครเมตริก (Psychometric Chart) อาจหาญ  ณ นรงค์ แผนกวิศวกรรมและซ่อมบำรุง บริษัท โยโกฮาม่า ไทร์  แมนูแฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จำกัด     แผนภูมิไซโครเมตริก (Psychometric Chart) เป็นแผนภูมิที่บอกถึงรายละเอียดของอากาศที่สภาวะต่าง ๆ เชื่อว่าหลายท่านที่ทำงานในสายงานเครื่องกล เช่น งานปรับอากาศและความเย็นคงจะรู้จักแผนภูมินี้ และการที่เราเข้าใจแผนภูมินี้จะทำให้เราเข้าใจถึงธรรมชาติและกระบวนการการเปลี่ยนแปลงของสภาวะของอากาศตลอดจนสามารถนำมาใช้งานและวิเคราะห์แก้ใขปัญหาในงานที่เกี่ยวข้องได้มากยิ่งขึ้น                          รูปที่ 1  แผนภูมิไซโครเมตริก (Psychometric Chart) ความสำคัญของอากาศและการใช้งาน     เชื่อว่าทุกคนคงจะรู้จักอากาศ (Air) กันเป็นอย่างดี อากาศมีอยู่ทุก ๆ ที่เราทุกคนใช้อากาศในการหายใจ อากาศเป็นตัวช่วยในการติดไฟของเชื้อเพลิงใ...

รายชื่อติดต่อ

เทคโนโลยีบัญฑิต(ทล.บ.) 1 .นายวีระพงษ์  พลทองสถิตย์ 2 .นายศุภชัย  เหลืองงาม 3 .นายอภิวัฒน์   ขันศรีนวล

ไซโครเมตริก เครื่องปรับอากาศ

http://www.thailandindustry.com/indust_newweb/articles_preview.php?cid=19123 http://mte.kmutt.ac.th/elearning/refrigeration_and_airconditioning/elearning/lesson1.html http://mte.kmutt.ac.th/elearning/Refrigeration/Website/unit3_1.htm https://youtu.be/tRapkBD045w https://ienergyguru.com/2015/09/psychometric-charts/ https://www.youtube.com/watch?v=ThCdE3cWrek&t=38s

เวป ตาราง PH Chart

http://www2.dede.go.th/bhrd/old/Download/file_handbook/Pre_Heat/pre_heat_8.pdf https://ienergyguru.com/2015/09/vapor-compression-system/ http://www2.dede.go.th/bhrd/old/Download/file_handbook/Pre_E_B/Elec_B_3.pdf file:///C:/Users/MANAGER/Downloads/ph%20chart.pdf file:///C:/Users/MANAGER/Downloads/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A8%20%E0%B8%9A%E0%B8%971.pdf http://www2.dede.go.th/bhrd/old/Download/file_handbook/Pre_Build/Build_14.pdf  http://anan59.blogspot.com/2016/12/ph-chart.html http://www2.dede.go.th/bhrd/old/Download/file_handbook/Pre_Build/Build_14.pdf
                                  ความรู้เบื้องต้นเครื่องปรับอากาศ การเปลี่ยนสถานะของน้ำ        แม้ว่าองค์ประกอบส่วนใหญ่ของบรรยากาศจะเป็น ไนโตรเจน และออกซิเจน    แต่แก๊สทั้งสองชนิดไม่ได้มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ    เนื่องจากมีจุดหลอมเหลว และจุดเยือกแข็งต่ำมาก     อุณหภูมิของบรรยากาศและพื้นผิวโลกสูงเกินกว่าที่จะทำให้แก๊สทั้งสองชนิดเปลี่ยนสถานะได้     ยกตัวอย่าง  หากจะทำให้แก๊สไนโตรเจนในอากาศเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว   อุณหภูมิอากาศจะต้องลดต่ำลงถึง  -196°C    ซึ่งเป็นไปไม่ได้ เนื่องจากโลกอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากเกินไป   ในทางตรงข้ามแม้บรรยากาศจะมีไอน้ำอยู่เพียงเล็กน้อย ประมาณ  0.1 - 4%  แต่ก็มีอิทธิพลทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศได้อย่างรุนแรง   เป็นเพราะว่าน้ำในอากาศสามารถเปลี่ยนสถานะกลับไปกลับมาได้ทั้งสามสถานะ   เนื่องจากอุณหภูมิ   ณ   จุดหลอมเหลว และจุ...